หลักสูตร การเขียนตำราระดับอุดมศึกษาที่มีคุณภาพ

รุ่นที่ 19 วันที่ 4 – 6 มีนาคม 2567
รุ่นที่ 21 วันที่ 5 – 7 สิงหาคม 2567
รูปแบบการจัด : ออนไลน์ (Microsoft Teams)
ค่าลงทะเบียน 3,500 บาท (ประกอบด้วยไฟล์เอกสารและการจัดส่งวุฒิบัตร)
รุ่นที่ 20 วันที่ 1 – 3 พฤษภาคม 2567
รุ่นที่ 22 วันที่ 4 – 6 พฤศจิกายน 2567
รูปแบบการจัด : เผชิญหน้า (อาคารสัมมนา มสธ.)
ค่าลงทะเบียน 6,000 บาท
(ชำระค่าลงทะเบียนล่วงหน้าก่อนการจัดอบรม 10 วัน ลดเหลือ 5,500 บาท)
การชำระค่าลงทะเบียน : โอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ ธนาคารกรุงไทย
สาขาเมืองทองธานี ชื่อบัญชี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
เลขที่บัญชี 147-0-24140-4
พร้อมส่งสำเนาใบโอนเงิน และใบสมัครเข้ารับการอบรมทาง
e-mail :  oce.training@stou.ac.th 
หรือ
LINE ID : 08 7100 1800
**ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ สามารถเบิกค่าลงทะเบียนจากต้นสังกัด
ได้ตามระเบียบกระทรวงการคลัง และไม่ถือเป็นวันลา
  1. ความรู้เกี่ยวกับตำรา และเทคนิคการเขียนตำรา
  2. การเลือกหัวข้อเรื่อง การจัดทำโครงเรื่อง และการเขียนงานวิชาการตามหลักการเขียนที่ดี
  3. กรณีศึกษา : การนำเสนอและการวิเคราะห์โครงเรื่องตำราของผู้เข้าอบรม
  4. การเขียนผลงานอย่างไรไม่ผิดจริยธรรม
  5. องค์ประกอบของตำรา การเตรียมต้นฉบับตำรา การจัดทำบรรณานุกรมและดรรชนี  ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปอย่างง่าย
  6. การประเมินตำราและถอดบทเรียนจากการเขียนการอ่าน และการประเมินตำรา
ผู้เข้ารับการฝึกอบรมที่มีเวลาเข้าอบรมในระบบออนไลน์โปรแกรม Microsoft Teams
(กรณีออนไลน์)  /
เวลาเข้าอบรมในห้องฝึกอบรม (กรณีเผชิญหน้า) ไม่น้อยกว่า 80%
ของระยะเวลาการฝึกอบรมตลอดหลักสูตร  จะได้รับวุฒิบัตรจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.ชุติมา สัจจานันท์

อดีตศาสตราจารย์เกียรติคุณประจำสาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

– มีความเชี่ยวชาญด้านการเขียนตำราและหนังสือ
โดยเขียนมาแล้ว 16 เรื่อง
– ตำราการศึกษาทางไกล หน่วยงานการสอนประมาณ
130 หน่วย
– บทความวิชาการ บทความวิจัย งานวิจัย ภาษาอังกฤษ
50 เรื่อง ภาษาไทย 70 เรื่อง
– บทความวิชาการ 170 เรื่อง
– รายการวิทยุกระจายเสียง รายการวิทยุโทรทัศน์ วีดิทัศน์ และบทเรียนออนไลน์ อีกจำนวนมา

ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.บุญทิพย์ สิริธรังศรี

อดีตศาสตราจารย์เกียรติคุณประจำสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

– มีความเชี่ยวชาญด้านการเขียนตำราและเอกสารการสอนจำนวนมาก
– บทความวิชาการและบทความวิจัย ภาษาไทยและภาษาอังกฤษกว่า 20 เรื่อง
– บทความวิจัยเผยแพร่ (กับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา)
18 เรื่อง
– หัวหน้าโครงการวิจัยทั้งสิ้น 14 เรื่อง
– ผู้ร่วมโครงการวิจัย 3 เรื่อง
– รายการวิทยุกระจายเสียง รายการวิทยุโทรทัศน์ วีดิทัศน์ และบทเรียนออนไลน์ จำนวนมาก